สัจนิรันดร์
นักเรียนมักเข้าใจว่าเมื่อใช้วิธีหาข้อข้อขัดแย้งในการตรวจสอบการเป็นสัจนิรันดร์ของรูปแบบของประพจน์ที่เชื่อมด้วย
“ถ้า ... แล้ว ...” แล้วพบข้อขัดยังแล้วจะสรุปโดยทันทีว่ารูปแบบของประพจน์เป็นสัจนิรันดร์
ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากการใช้วิธีการหาข้อขัดแย้งต้องตรวจสอบให้ครบทุกกรณี
ซึ่งเมื่อพบข้อขัดแย้งในกรณีหนึ่งแล้ว อาจยังมีกรณีอื่น ๆ อีกที่ไม่มีข้อแย้ง เช่น
ในการตรวจสอบการเป็นสัจนิรันดร์ของ [p ®
(q ® r)] ® [(p®q) ®r]
อย่างไรก็ตามกรณี รูปแบบของประพจน์นี้มีกรณีที่ไม่เกิดข้อขัดแย้ง ดังแสดงในแผนภาพต่อไปนี้
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น